พระไตรปิฎก : โครงสร้าง ชื่อคัมภีร์และสาระสังเขปของพระสุตตันตปิฎก
พระไตรปิฎก : โครงสร้าง ชื่อคัมภีร์และสาระสังเขปของพระสุตตันตปิฎก
ชื่อคัมภีร์และสาระสังเขปของพระสุตตันปิฎก
พระสูตร หรือที่เรียกในทางวิชาการว่า พระสุตตันปิฎก เป็น 1 ใน 3 ปิฎก มีลักษณะที่แตกต่างออกไปจากพระวินัยปิฎกและ
พระอภิธรรมปิฎก คือ เป็นการแสดงพระธรรมเทศนาที่มี บุคคล เหตุการณ์และสถานที่เข้ามาประกอบที่เรียกว่า บุคลาธิษฐาน โดยที่พระพุทธเจ้าทรงปรารภบุคคลเป็นต้น แล้วทรงถือโอกาสแสดงธรรมเทศนา ที่มีลักษณะเป็น ธรรมาธิษฐานบ้าง แต่ก็มีเป็นส่วนน้อย
พระธรรมเทศนาในพระสูตรมีเป็นจำนวนมาก หลายหมวด หลายประเภท อ่านเพิ่มเติม
วันพุธที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2558
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
สังฆคุณ 9
พระสงฆ์ เป็นส่วนหนึ่งของพระรัตนตรัย หมายถึง ผู้ปฏิบัติตามคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า แล้วสอนให้ผู้อื่นรู้และปฏิบัติตาม
ผู้ที่จะเป็นพระสงฆ์ได้จะต้องผ่านการบวชโดยวิธีหนึ่งใน 3 วิธี ได้แก่
1. การบวชโดยพระพุทธเจ้าทรงประทานให้ เรียกว่า เอหิกภิกขุอุปสัมปทา
2. การบวชด้วยการรับไตรสรณคมน์ เรียกว่า ติสรณคมนูปสัมปทา
3. การบวชที่คณะสงฆ์ยอมรับเข้าหมู่โดยมติเอกฉันท์ เรียกว่า ญัตติตุตถกัมมอุปสัมอุปทา
อ่านเพิ่มเติม
พระสงฆ์ เป็นส่วนหนึ่งของพระรัตนตรัย หมายถึง ผู้ปฏิบัติตามคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า แล้วสอนให้ผู้อื่นรู้และปฏิบัติตาม
ผู้ที่จะเป็นพระสงฆ์ได้จะต้องผ่านการบวชโดยวิธีหนึ่งใน 3 วิธี ได้แก่
1. การบวชโดยพระพุทธเจ้าทรงประทานให้ เรียกว่า เอหิกภิกขุอุปสัมปทา
2. การบวชด้วยการรับไตรสรณคมน์ เรียกว่า ติสรณคมนูปสัมปทา
3. การบวชที่คณะสงฆ์ยอมรับเข้าหมู่โดยมติเอกฉันท์ เรียกว่า ญัตติตุตถกัมมอุปสัมอุปทา
อ่านเพิ่มเติม
วันอาทิตย์ที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2558
หน่วยที่ ๓ ประวัติพุทธสาวก พุทธสาวิกา ชาดก
๑. สามารถอธิบายประวัติพุทธสาวก ได้แก่ พระอัสสชิและหมอชีวกโกมารภัจ และนำวัตรปฏิบัติของท่านไปเป็นแบบอย่างในการดำเนินชีวิตได้
๒. สามารถอธิบายชาดก เรื่อง เวสสันดรชาดก และนำไปเป็นแนวปฏิบัติในการดำเนินชีวิตได้ อ่านเพิ่มเติม
๒. สามารถอธิบายชาดก เรื่อง เวสสันดรชาดก และนำไปเป็นแนวปฏิบัติในการดำเนินชีวิตได้ อ่านเพิ่มเติม
หน่วยที่ ๒ หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
๑. สามารถอธิบายพระรัตนตรัยเกี่ยวกับความหมายและคุณค่าของพุทธะ และนำมาประยุกต์ใช้ในการกำหนดเป็น
แนวทางในการดำเนินชีวิตอย่างมีเหตุผลเพื่อการอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุขได้
๒. สามารถอธิบายอริยสัจ 4 เกี่ยวกับทุกข์ในขันธ์ 5 เรื่องนามรูป และนำไปประยุกต์ใช้ในการกำหนดเป็น
แนวทางในการดำเนินชีวิตอย่างมีเหตุผลเพื่อการอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุขได้
๓. สามารถอธิบายอริยสัจ 4 เกี่ยวกับสมุทัยในหลักกรรม เรื่องนิยาม 5 และวิตก 3 และนำไปประยุกต์ใช้ใน
การกำหนดเป็นแนวทางในการดำเนินชีวิตอย่างมีเหตุผลเพื่อการอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุขได้
๔. สามารถอธิบายอริยสัจ 4 เกี่ยวกับนิโรธในภาวนา 4 และนำไปประยุกต์ใช้ในการกำหนดเป็นแนวทาง ในการดำเนินชีวิต
อย่างมีเหตุผล เพื่อการอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุขได้
๕. สามารถอธิบายอริยสัจ 4 เกี่ยวกับมรรคในหลักพละ 5 และนำไปประยุกต์ใช้ในการกำหนดเป็นแนวทางในการดำเนินชีวิต
อย่างมีเหตุผลเพื่อการอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุขได้
๖. สามารถอธิบายอริยสัจ 4 เกี่ยวกับมรรคในหลักอุบาสกธรรม 5 และนำไปประยุกต์ใช้ในการกำหนดเป็นแนวทางในการดำเนินชีวิตอย่างมีเหตุผลเพื่อการอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุขได้ อ่านเพิ่มเติม
แนวทางในการดำเนินชีวิตอย่างมีเหตุผลเพื่อการอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุขได้
๒. สามารถอธิบายอริยสัจ 4 เกี่ยวกับทุกข์ในขันธ์ 5 เรื่องนามรูป และนำไปประยุกต์ใช้ในการกำหนดเป็น
แนวทางในการดำเนินชีวิตอย่างมีเหตุผลเพื่อการอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุขได้
๓. สามารถอธิบายอริยสัจ 4 เกี่ยวกับสมุทัยในหลักกรรม เรื่องนิยาม 5 และวิตก 3 และนำไปประยุกต์ใช้ใน
การกำหนดเป็นแนวทางในการดำเนินชีวิตอย่างมีเหตุผลเพื่อการอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุขได้
๔. สามารถอธิบายอริยสัจ 4 เกี่ยวกับนิโรธในภาวนา 4 และนำไปประยุกต์ใช้ในการกำหนดเป็นแนวทาง ในการดำเนินชีวิต
อย่างมีเหตุผล เพื่อการอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุขได้
๕. สามารถอธิบายอริยสัจ 4 เกี่ยวกับมรรคในหลักพละ 5 และนำไปประยุกต์ใช้ในการกำหนดเป็นแนวทางในการดำเนินชีวิต
อย่างมีเหตุผลเพื่อการอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุขได้
๖. สามารถอธิบายอริยสัจ 4 เกี่ยวกับมรรคในหลักอุบาสกธรรม 5 และนำไปประยุกต์ใช้ในการกำหนดเป็นแนวทางในการดำเนินชีวิตอย่างมีเหตุผลเพื่อการอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุขได้ อ่านเพิ่มเติม
หน่วยที่ ๑ ประวัติและความสำคัญของพระพุทธศาสนา
๑. สามารถอธิบายความสำคัญของพระพุทธศาสนาเกี่ยวกับพระพุทธศาสนามีทฤษฎีและวิธีการที่เป็นสากล
และมีข้อปฏิบัติที่ยึดทางสายกลางได้
๒. สามารถอธิบายความสำคัญของพระพุทธศาสนาเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาที่เน้นการพัฒนาศรัทธาและ
ปัญญาที่ถูกต้องได้
๓. สามารถอธิบายสรุปและวิเคราะห์พุทธประวัติด้านการตรัสรู้ได้ อ่านเพิ่มเติม
และมีข้อปฏิบัติที่ยึดทางสายกลางได้
๒. สามารถอธิบายความสำคัญของพระพุทธศาสนาเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาที่เน้นการพัฒนาศรัทธาและ
ปัญญาที่ถูกต้องได้
๓. สามารถอธิบายสรุปและวิเคราะห์พุทธประวัติด้านการตรัสรู้ได้ อ่านเพิ่มเติม
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)